มาตรฐานความปลอดภัย

Print

มาตรฐานความปลอดภัยของห้องปฎิบัติการ


ความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosafety)

ความปลอดภัยทางชีวภาพ เป็นมาตรการดูแลความปลอดภัยสากลบนหลักพื้นฐานของความปลอดภัยต่อสุขภาพอนามัยมนุษย์ และสิ่งแวดล้อมจากอันตรายของ ชีววัตถุ (biological agent) ที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงาน จากการวิจัย จากการ ทดลองและ/หรือสิ่งแวดล้อม ซึ่งส่งผลดีต่อการผลิตผลงานที่มีคุณภาพ และต่อสวัสดิภาพของประชาชนและชุมชน หลักการทั่วไปคือ กระบวนการความปลอดภัยในการ จัดการชีววัตถุในห้องปฏิบัติการหรือในสภาวะที่ควบคุมดูแลได้ เพื่อลดหรือจำกัด โอกาสที่คนและสิ่งแวดล้อมจะได้รับชีววัตถุที่มีอันตรายในระดับต่างๆกัน ซึ่งโดยทั่วไป มี2 ระดับ คือ ระดับพื้นฐาน (primary containment) เพื่อป้องกันคนและสภาพ แวดล้อมในห้องปฏิบัติการไม่ให้สัมผัสกับชีววัตถุที่อาจเป็นอันตราย และระดับที่ 2 (secondary containment) เพื่อการป้องกันสิ่งแวดล้อมภายนอกจากชีววัตถุอันตราย ความปลอดภัยทางชีวภาพ เป็นมาตรการดูแลความปลอดภัยสากลบนหลักพื้นฐานของความปลอดภัยต่อสุขภาพอนามัยมนุษย์ และสิ่งแวดล้อมจากอันตรายของ ชีววัตถุ (biological agent) ที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงาน จากการวิจัย จากการ ทดลองและ/หรือสิ่งแวดล้อมกระบวนการความปลอดภัยในการ จัดการชีววัตถุในห้องปฏิบัติการเพื่อลดโอกาสที่คนและสิ่งแวดล้อมจะได้รับชีววัตถุที่มีอันตรายในระดับต่างๆกัน ซึ่งโดยทั่วไป มี2 ระดับ คือ ระดับพื้นฐาน (primary containment) เพื่อป้องกันคนและสภาพ แวดล้อมในห้องปฏิบัติการไม่ให้สัมผัสกับชีววัตถุที่อาจเป็นอันตราย และระดับที่ 2 (secondary containment) เพื่อการป้องกันสิ่งแวดล้อมภายนอกจากชีววัตถุอันตราย ประเภทของงานวิจัยและระดับความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ 1.1 ประเภทของงานวิจัย งานวิจัยที่เกี่ยวกับเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค (infectious agents) สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (genetic-modified organisms) และ แมลงพาหะ (arthropod vector) 1.2 ระดับความปลอดภัยทางชีวภาพของห้องปฏิบัติการ 1.2.1 ความปลอดภัยทางชีวภาพระดับที่ 1 (biosafety level 1, BSL1) ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพของห้องปฏิบัติการระดับ BSL1 สามารถใช้ได้กับการวิจัยและทดลองเชื้อจุลินทรีย์ที่ไม่ก่อให้เกิดโรค หรือสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมประเภทที่ 1 ซึ่งมีอันตรายในระดับต่ำที่สุดต่อผู้ปฏิบัติงานและสิ่งแวดล้อม 1.2.2 ความปลอดภัยทางชีวภาพระดับที่ 2 (biosafety level 2, BSL2) ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพของห้องปฏิบัติการระดับ BSL2 ใช้กับการวิจัยและทดลองเกี่ยวกับเชื้อจุลินทรีย์ที่ก่อโรคโดยเฉพาะโรคติดต่อทางเลือด ทางปากและทางผิวหนัง สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม ประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 หรือบางลักษณะของงานประเภทที่ 3 ซึ่งมีความเสี่ยงอยู่ในระดับต่ำถึงปานกลาง โดยผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการควรได้รับการฝึกเป็นพิเศษในเรื่องของเชื้อก่อโรค จากนักวิทยาศาสตร์ทางด้านจุลชีววิทยาและการทำการศึกษาสิ่งมีชีวิตก่อโรคที่อาจก่อให้เกิดการ ฟุ้งกระจาย จะต้องทำในตู้ชีวนิรภัย หรืออุปกรณ์อื่นๆ ที่เหมาะสม 1.2.3 ความปลอดภัยทางชีวภาพระดับที่ 3 (biosafety level 3, BSL3) ห้องปฏิบัติการระดับความปลอดภัยทางชีวภาพ BSL3 เป็นระดับที่ประยุกต์เพื่อใช้กับงานวิจัยทดลองในเชิงการแพทย์ที่มีการทำงานเกี่ยวกับเชื้อก่อโรคสูง หรือระดับการผลิตในโรงงานซึ่งมีการใช้สารชีวภาพหรือสารเคมีซึ่งอาจก่อให้เกิดโรคหรือเป็นอันตรายถึงชีวิต 1.2.4. ความปลอดภัยทางชีวภาพระดับที่ 4 (biosafety level 4, BSL4) ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพของห้องปฏิบัติการระดับ BSL4 สามารถใช้ได้กับการทดลองเกี่ยวกับเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรคร้ายเเรง สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมประเภทที่ 4 รวมถึงการใช้สิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงสูงสุด หรือยังไม่ทราบระดับอันตรายที่ชัดเจน รายละเอียดเพิ่มเติม https://ethics.kmutt.ac.th/ibc/

ห้องปฏิบัติการที่ได้รับมาตรฐานและรายชื่อห้องปฏิบัติการ

ห้องปฏิบัติที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน

รายชื่อห้องปฏิบัติการที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน คณะวิทยาศาสตร์
ห้องปฏิบัติการสำหรับหน่วยวิจัยภายใต้คณะวิทยาศาสตร์
ลำดับ ชื่อห้องปฏิบัติการ สังกัด สถานที่ตั้ง มาตรฐานที่ได้รับ หัวหน้าหน่วยวิจัย
1 ศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์ประยุกต์และวิศวกรรมศาสตร์เพื่อคำตอบของสังคม (Applied Science and Engineering for Solucial Solution: ASESS Research Center) ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์เพื่อมาตรฐานอุตสาหกรรม SI306 ชั้น 3 อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์เพื่อมาตรฐานอุตสาหกรรม Peer Evaluation ผศ.ดร.เขมฤทัย ถามะพัฒน์
2 กลุ่มวิจัยเคมีเพื่อสังคมสีเขียวและชีวิตที่มีสุขภาพดี (Chemistry for Green Society and Healthy Living: GhGSH) ภาควิชาเคมี CH405 ชั้น 4 อาคารภาควิชาเคมี ESPReL ผศ.ดร.สุดธิดา เปลี่ยนคารมย์ ธนทรัพย์สิน ผศ.ดร.อนวัช พินิจศักดิ์กุล
3 ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีฟิล์มบางและการประยุกต์ใช้ (Thin Film Technology and Application: TFA) ภาควิชาฟิสิกส์ SCL306 และ SCL409 ชั้น 3 อาคารปฏิบัติการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ESPReL ผศ.ดร.ตุลา จูฑะรสก
4
ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมโครงสร้างโปรตีนและเอนไซม์ (Structural Engineering of Protein and Enzyme Laboratory: SEPEL)
ภาควิชาจุลชีววิทยา
MI601, MI604 ชั้น 6 อาคารภาควิชาจุลชีววิทยา ESPReL
ผศ.ดร.พงค์ศักดิ์ ขุนแร่ และ ดร.ไตรวิทย์ รัตนโรจน์พงศ์
MI602 ชั้น 6 อาคารภาควิชาจุลชีววิทยา BSL1+
5 Physics Chemistry (ห้องปฏิบัติการการคำนวณทางวัสดุศาสตร์และการประยุกต์: CMSA) ภาควิชาเคมี SCL812 ชั้น 8 อาคารปฏิบัติการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ESPReL รศ.ดร.ชินพงศ์ กฤตยากรนุพงศ์
6 ห้องปฏิบัติการ Environmental Research and Applications (ERA) ภาควิชาเคมี CH409 ชั้น 4 อาคารภาควิชาเคมี ESPReL ผศ. ดร.สุดธิดา เปลี่ยนคารมย์ ธนทรัพย์สิน
7 ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อพลังงานและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ (Biotechnology Research for Energy and Bioactive Compounds Laboratory: BREBC) ภาควิชาจุลชีววิทยา MI 201 ชั้น 2 อาคารภาควิชาจุลชีววิทยา ESPReL ผศ. ดร.สุคนธ์ ตันติไพบูลย์วุฒิ
8 Food quality evaluation and food product development (ห้องปฏิบัติการอาหารเพื่อสุขภาพ Healthy Food Research Laboratory: HFRL) ภาควิชาจุลชีววิทยา MI303 ชั้น 3 อาคารภาควิชาจุลชีววิทยา ESPReL รศ.ดร.พรรณจิรา วงศ์สวัสดิ์
9 กลุ่มวิจัยการใช้ประโยชน์วัสดุเหลือทิ้งทางอุตสาหกรรมอาหารและเกษตรด้วยวิธีทางชีวภาพ (กลุ่มวิจัยอาหารปลอดภัยและความมั่นคงทางด้านอาหาร (Food Safety and Food Security Research Group: 2FS) ภาควิชาจุลชีววิทยา MI401 ชั้น 4 อาคารภาควิชาจุลชีววิทยา ESPReL รศ.ดร.วรพจน์ สุนทรสุข
10 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ภาควิชาจุลชีววิทยา MI301 ชั้น 3 อาคารภาควิชาจุลชีววิทยา ESPReL ดร.รริศรา อิ่มภาประเสริฐ
11 ห้องปฏิบัติการวัสดุอัฉริยะ (Smart MAteriaLs Laboratory: SMaL) ภาควิชาฟิสิกส์ SI405 ชั้น 4 อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์เพื่อมาตรฐานและอุตสาหกรรม ESPReL ดร.ชุมพล เหลืองชัยศรี
12 ความหลากหลายทางชีวภาพของจุลินทรีย์และการประยุกต์ใช้ (Microbial Biodiversity Research and Applications: MBRA) ภาควิชาจุลชีววิทยา MI506-507 ชั้น 5 อาคารภาควิชาจุลชีววิทยา ESPReL ดร.วิทยา เขาหนองบัว
13 เคมีอินทรีย์สังเคราะห์ เคมีไฟฟ้า และผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (Organic Synthesis, Electrochemistry and Natural Product: OSEN) ภาควิชาเคมี CH204 ชั้น 2 อาคารภาควิชาเคมี ESPReL ผศ.ดร.นคร เนียมนนท์
ห้องปฏิบัติการสำหรับการเรียนการสอน
ลำดับ ชื่อห้องปฏิบัติการ สังกัด สถานที่ตั้ง มาตรฐานที่ได้รับ หัวหน้าหน่วยวิจัย
1 ห้องปฏิบัติการ Chemistry Lab ภาควิชาเคมี SCL609, SCL612, SCL614, SCL617 อาคารปฏิบัติการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ Peer Evaluation ผศ.ดร.อนวัช พินิจศักดิ์กุล
2 ห้องปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ ภาควิชาเคมี SCL708 และ SCL711 อาคารปฏิบัติการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ Peer Evaluation ดร.วิทวัส มิ่งวาณิช
3 ห้องปฏิบัติการเคมีสิ่งแวดล้อม ภาควิชาเคมี SCL713 อาคารปฏิบัติการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ Peer Evaluation ผศ.ดร.สุดธิดา เปลี่ยนคารมย์ ธนทรัพย์สิน
4 ห้องปฏิบัติการเคมีทั่วไป ภาควิชาเคมี SCL907และ SCL910 อาคารปฏิบัติการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ Peer Evaluation คุณสมพร เชยเสงี่ยม
5 ห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม ภาควิชาจุลชีววิทยา MI503 ชั้น 5 อาคารภาควิชาจุลชีววิทยา Peer Evaluation ผศ.ดร.ศิววรรณ พูลพันธุ์
6 ห้องปฏิบัติการพื้นฐานทางจุลชีววิทยา ภาควิชาจุลชีววิทยา SCL414-422 ชั้น 4 อาคารปฏิบัติการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ESPReL คุณองอาจ วัฒนชัยยิ่งยง
ห้องปฏิบัติการสำหรับการทำวิจัย
ลำดับ ชื่อห้องปฏิบัติการ สังกัด สถานที่ตั้ง มาตรฐานที่ได้รับ หัวหน้าหน่วยวิจัย
1 ICP ภาควิชาเคมี CH303 ชั้น 3 อาคารภาควิชาเคมี ESPReL คุณนลินรัตน์ ลิ่มพานิช
2 เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ภาควิชาเคมี ภาควิชาเคมี SCL902 ชั้น 9 อาคารปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ESPReL คุณวรรณภา ลัคนาวัฒน์
3 ห้องปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ ภาควิชาเคมี SCL807 ชั้น 8 อาคารปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ESPReL ผศ.ดร.นิศากร ทองก้อน
4 ห้องปฏิบัติการวิจัยวัสดุนาโน (Nanomaterials Research Laboratory) ภาควิชาเคมี SCL913 ชั้น 9 อาคารปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ESPReL ผศ.ศุภลักษณ์ อ่างแก้ว
5 ห้องปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ 1 ภาควิชาเคมี SCL804 ชั้น 8 อาคารปฏิบัติการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ESPReL คุณนิโลบล ชุมภู
6 ห้องปฏิบัติการวิจัยวัสดุและนวัตกรรม (Materials and Innovation Research Laboratory: MIR) ภาควิชาฟิสิกส์ SCL 504 ชั้น 5 อาคารปฏิบัติการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ESPReL คุณพาณิน พูลจักร์
7 ห้องปฏิบัติการเอ๊กซ์เรย์ดิฟแฟรกชั่น ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์เพื่อมาตรฐานและอุตสาหกรรม SI305 ชั้น 3 อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์เพื่อมาตรฐานและอุตสาหกรรม ESPReL คุณพินิจนันท์ รุทธนานุรักษ์
8 ห้องปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ ภาควิชาเคมี SCL809 ชั้น 8 อาคารปฏิบัติการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ESPReL รศ.กรวลัย พันธุ์แพ
9 ห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยาประยุกต์ ภาควิชาจุลชีววิทยา MI501 ชั้น 5 อาคารภาควิชาจุลชีววิทยา ESPReL ผศ.ดร.ดวงทิพย์ มูลมั่งมี
11 Applied Microbiogy ภาควิชาจุลชีววิทยา MI501 ชั้น 5 อาคารภาควิชาจุลชีววิทยา ESPReL ดร.นุจริน จงรุจา
12 SENSORY EVALUATION LAB ภาควิชาจุลชีววิทยา SCL310 ชั้น 3 อาคารปฏิบัติการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ESPReL คุณนิพร เดชสุข

 

ชื่อห้องปฏิบัติการ ประเภทหน่วยวิจัย สถานที่ตั้ง มาตรฐานที่ได้รับ หัวหน้าหน่วยวิจัย
เคมีเพื่อสังคมสีเขียวและชีวิตที่มีสุขภาพดี (Chemistry for Green Society and Healthy Living: GhGSH) กลุ่มวิจัย CH 405 ESPReL ผศ.ดร.สุดธิดา เปลี่ยนคารมย์ ธนทรัพย์สิน ผศ.ดร.อนวัช พินิจศักดิ์กุล
วิทยาศาสตร์ประยุกต์และวิศวกรรมศาสตร์เพื่อคำตอบของสังคม (Applied Science and Engineering for Solucial Solution: ASESS) ศูนย์วิจัย SI306 Peer Evaluation ผศ.ดร.เขมฤทัย ถามะพัฒน์
ห้องปฏิบัติการสังเคราะห์และการใช้ประโยชน์จากเคมีสีเขียว (Green Synthesis and Applications Laboratory: GSAL) ห้องปฏิบัติการ SI306 Peer Evaluation ผศ.ดร.เขมฤทัย ถามะพัฒน์
เทคโนโลยีฟิล์มบางและการประยุกต์ใช้ (Thin Film Technology and Application: TFA) ห้องปฏิบัติการ SCL306 ESPReL ผศ.ดร.ตุลา จูฑะรสก
ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมโครงสร้างโปรตีนและเอนไซม์ (Structural Engineering of Protein and Enzyme Laboratory: SEPEL) ห้องปฏิบัติการ MI601,MI602 ESPReL,BSL1+ ผศ.ดร.พงค์ศักดิ์ ขุนแร่
ห้องปฏิบัติการ Chemistry Lab ห้องปฏิบัติการสำหรับการเรียนการสอน SCL609,SCL612, SCL614,SCL617 Peer Evaluation ผศ.ดร.อนวัช พินิจศักดิ์กุล
ห้องปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ ห้องปฏิบัติการสำหรับการเรียนการสอน SCL708,SCL711 Peer Evaluation ดร.วิทวัส มิ่งวาณิช
ห้องปฏิบัติการเคมีสิ่งแวดล้อม ห้องปฏิบัติการสำหรับการเรียนการสอน SCL713 Peer Evaluation ผศ.ดร.สุดธิดา เปลี่ยนคารมย์ ธนทรัพย์สิน
ห้องปฏิบัติการเคมีทั่วไป ห้องปฏิบัติการสำหรับการเรียนการสอน SCL907,SCL910 Peer Evaluation คุณสมพร เชยเสงี่ยม

ห้องปฏิบัติการของหน่วยวิจัยคณะวิทยาศาสตร์

ชื่อหน่วยวิจัย ประเภทหน่วยวิจัย หัวหน้าหน่วยวิจัย สถานที่ตั้ง มาตรฐานห้องปฏิบัติการที่ได้รับ มาตรฐานห้องปฏิบัติการที่ต้องการได้รับ
คณิตศาสตร์เชิงการแพทย์ (Medical Mathematics: Medmath) กลุ่มวิจัย รศ. ดร.วิราวรรณ ชินวิริยสิทธิ์ SC 2511 - ไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
เชิงบูรณาการหาค่าที่เหมาะสมและวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Integrated Research, Optimization and Data Science: IRODS) กลุ่มวิจัย ผศ. ดร.วิบูลศักดิ์ วัฒายุ ไม่มีข้อมูล - ไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
ทฤษฏีจุดตรึงและการประยุกต์ (Fixed Point Theory and Applications: FPTA) กลุ่มวิจัย ศ. ดร.ภูมิ คำเอม SCL802 - ไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
การพยากรณ์ทางด้านบรรยากาศและมหาสมุทร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (KMUTT Research Group of Atmospheric and Oceanic Prediction: K@TOP) กลุ่มวิจัย รศ. ดร.อุษา ฮัมฟรี่ SC2208/1 - ไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
Discrete Mathematics, Algebra, Probability, Statistics, Dynamical Systems and Applications กลุ่มวิจัย ผศ.ดร.ภวธน เขมะวิชานุรัตน์ SC2217 - ไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
คณิตศาสตร์ศึกษาและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้สำหรับผู้ให้การศึกษา (Mathematics Education and Learning Innovation For Educators Research Group : MEd-LIFE) กลุ่มวิจัย ดร.รัชนิกร ชลไชยะ SC2212/1 - ไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
เคมีอินทรีย์สังเคราะห์ เคมีไฟฟ้า และผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (Organic Synthesis, Electrochemistry and Natural Product: OSEN) กลุ่มวิจัย ดร.วิทวัส มิ่งวานิช CH 204 - ไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
เคมีเพื่อสังคมสีเขียวและชีวิตที่มีสุขภาพดี (Chemistry for Green Society and Healthy Living: GhGSH) กลุ่มวิจัย ผศ.ดร.สุดธิดา เปลี่ยนคารมย์ ธนทรัพย์สิน ผศ.ดร.อนวัช พินิจศักดิ์กุล CH 405 EsPREL ได้รับการตรวจและปรับปรุงตาม มาตรฐาน EESH และ Peer Evaluation แล้ว -
พอลิเมอร์เเบบยั่งยืนเเละวัสดุคอมพอสิตเชิงนวัตกรรม (Sustainable Polymer & Innovative Composite Materials: SPICE) กลุ่มวิจัย ผศ.ดร.วันเพ็ญ ช้อนแก้ว CH 405 - ยังไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
การคำนวณทางวัสดุศาสตร์และการประยุกต์ (Computational materials science and applications: CMSA) ห้องปฏิบัติการ รศ.ดร.ชินพงษ์ กฤตยากรนุพงศ์ CH313 - ยังไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
วัสดุลูมิเนสเซนต์และซินทิลเลชัน (Luminescence and Scintillation Materials: LSM) กลุ่มวิจัย รศ.ดร.วีระพงศ์ จิ๋วประดิษฐ์กุล SI 405-1 - การได้รับการตรวจประเมินความปลอดภัยโดยสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติเนื่องจากมีวัสดุรังสี
วัสดุฐานแกรฟีน (Graphene-based materials: GM) กลุ่มวิจัย ผศ.ดร.ปิยะพงษ์ อะสะนิธิ SC2408 - ESPRel
ฟิสิกส์ทฤษฎีและฟิสิกส์เชิงคำนวณ (Theoretical and Computational Physics: TCP) กลุ่มวิจัย ผศ.ดร.วัชระ เลี้ยวเรียน SCL509 - ยังไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
ทัศนศาสตร์ประยุกต์และฟิสิกส์ศึกษา (Applied Optics and Physics Education Research: AO-PER) กลุ่มวิจัย ดร.แสงกฤช กลั่นบุศย์ SC2303 - ยังไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
ห้องปฏิบัติการสังเคราะห์และการใช้ประโยชน์จากเคมีสีเขียว (Green Synthesis and Applications Laboratory: GSAL) ห้องปฏิบัติการ ผศ.ดร.เขมฤทัย ถามะพัฒน์ SI306 ESPRel -
วัสดุและการประยุกต์ใช้งานทางด้านรังสี (Material and Radiation Application Laboratory: MRAL) ห้องปฏิบัติการ ผศ. ดร.กิตติศักดิ์ชัย แนมจันทร์ SC2515 - ESPRel
เทคโนโลยีฟิล์มบางและการประยุกต์ใช้ (Thin Film Technology and Application: TFA) ห้องปฏิบัติการ ผศ.ดร.ตุลา จูฑะรสก SCL306 ESPRel -
อาหารปลอดภัยและความมั่นคงทางด้านอาหาร (Food Safety and Food Seurity: 2FS) กลุ่มวิจัย รศ.ดร.วรพจน์ สุนทรสุข MI301,MI401,MI501,MI601 - ยังไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
ความหลากหลายทางชีวภาพของจุลินทรีย์และการประยุกต์ใช้ (Microbial Biodiversity Research and Applications: MBRA) กลุ่มวิจัย ผศ.ดร.วิทยา เขาหนองบัว MI506,MI507 - รอการปรับปรุงให้เป็น BSL1
เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อพลังงานและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ (Biotechnology Research for Energy and Bioactive Compounds: BREBC) ห้องปฏิบัติการ ผศ.ดร.สุคนธ์ ตันติไพบูลย์วุฒิ MI201 - ยังไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
ห้องปฏิบัติการอาหารเพื่อสุขภาพ (Healthy Food Research Laboratory: HFRL) ห้องปฏิบัติการ รศ.ดร.พรรณจิรา วงศ์สวัสดิ์ MI303 - อยู่ระหว่างการขอ BSL1
ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมโครงสร้างโปรตีนและเอนไซม์ (Structural Engineering of Protein and Enzyme Laboratory: SEPEL) ห้องปฏิบัติการ ผศ.ดร.พงค์ศักดิ์ ขุนแร่ MI501,MI601,MI602,MI603 601 ESPRel, MI602 BSL1 ยังไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
วิทยาศาสตร์เชิงทฤษฎีและการคำนวณ (Center of Excellence in Theoretical and Computational Science: TaCS) ศูนย์เชี่ยวชาญ ศ.ดร.ภูมิ คำเอม SCL603,SCL802 - ยังไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
การคำนวณและสารสนเทศเชิงควอนตัม (Quantum Computing and Information: QX) ศูนย์วิจัย ดร.ธนภัทร์ ดีสุวรรณ N16-0512 อาคารLX - ยังไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
ห้องปฏิบัติการสำหรับตรวจสอบอินเตอร์เฟสและพื้นผิว (Laboratory for Interface and Surface Characterization: ISC) ห้องปฏิบัติการ ผศ.ดร.นพพร รุจิสัมพันธ์ SI 205 - ยังไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ศึกษาเพื่อสังคมแห่งการเรียนรู้และสร้างสรรค์ (Mathematics and Science Education for Creative and Learning Society: MSciEd) กลุ่มวิจัย ผศ.ดร.มิ่งขวัญ ภาคสัญไชย ไม่มีข้อมูล - ยังไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
วิศวกรรมสารสนเทศภูมิศาสตร์และนวัตกรรม (KMUTT Geospatial Engineering and Innovation: KGEO) ศูนย์วิจัย ดร.ปริเวท วรรณโกวิท SI506 - ยังไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
วัสดุขีวภาพอัจฉริยะและเทคโนโลยี (Bio-Smart Materials and Technology Research Group: BMT) กลุ่มวิจัย ผศ.ดร.ธิดารัตน์ บุญศรี SI504, SI505 - ยังไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
วิทยาศาสตร์ประยุกต์และวิศวกรรมศาสตร์เพื่อคำตอบของสังคม (Applied Science and Engineering for Solucial Solution: ASESS) ศูนย์วิจัย ผศ.ดร.เขมฤทัย ถามะพัฒน์ SI306 ESPReL -
วัสดุและการประยุกต์ใช้งานทางด้านรังสี (Material and Radiation Application Laboratory: MRAL) ห้องปฏิบัติการ ผศ. ดร.กิตติศักดิ์ชัย แนมจันทร์ SC2515 - ยังไม่ประสงค์ขอรับมาตรฐาน
วัสดุลูมิเนสเซนต์และซินทิลเลชัน (Luminescence and Scintillation Materials: LSM) กลุ่มวิจัย รศ.ดร.วีระพงศ์ จิ๋วประดิษฐ์กุล SI 405-1 - ได้รับการตรวจประเมินความปลอดภัยโดยสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติเนื่องจากมีวัสดุรังสี
วัสดุฐานแกรฟีน (Graphene-based materials: GM) กลุ่มวิจัย ผศ.ดร.ปิยะพงษ์ อะสะนิธิ SC2408 - ESPRel
ความหลากหลายทางชีวภาพของจุลินทรีย์และการประยุกต์ใช้ (Microbial Biodiversity Research and Applications: MBRA) กลุ่มวิจัย ผศ.ดร.วิทยา เขาหนองบัว MI506,MI507 - BSL1
ห้องปฏิบัติการอาหารเพื่อสุขภาพ (Healthy Food Research Laboratory: HFRL) ห้องปฏิบัติการ รศ.ดร.พรรณจิรา วงศ์สวัสดิ์ MI303 - BSL1

ห้องปฏิบัติการปลอดภัย