King Mongkut's University of Technology Thonburi (KMUTT)

 

 

   

1 | 2

Previous Next

นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์เข้ารับรางวัลมูลนิธิศาสตราจารย์ ดร.แถบ นีละนิธิ ประจำปี พ.ศ. 2566

 

เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2567 นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จำนวน 18 คน เข้ารับรางวัลผลการศึกษายอดเยี่ยมและทุนการศึกษาจากมูลนิธิศาสตราจารย์ ดร.แถบ นีละนิธิ ประจำปี พ.ศ.2566 ณ ห้อง 220 อาคารแถบ นีละนิธิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ตุลา จูฑะรสก คณบดีคณะวิทยาศาสตร์  ร่วมแสดงความยินดีกับนักศึกษาที่ได้รับรางวัล ดังนี้

รางวัลผลการศึกษายอดเยี่ยมขั้นวิทยาศาสตรบัณฑิต ได้แก่ นายภากร มลิวรรณ สาขาคณิตศาสตร์ นางสาวปวีณ์กร ฮวบเจริญ สาขาสถิติ นายธนพิชญ์ สุทธิปัญโญ สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์ นางสาวฉัตรมณี โชคธนสุขสิริ สาขาฟิสิกส์ประยุกต์ นายอภิสิทธิ์ อนันต์ธนสาร สาขาเคมี นางสาวนาถลัดดา ชูเวทย์ สาขาจุลชีววิทยา และนางสาวสาริศา มณีแก้วโชติจินดา สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

รางวัลผลการศึกษายอดเยี่ยมขั้นวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ได้แก่ นางสาวเสาวลักษณ์ คำพุก สาขาเคมี นายบัญชา ก้อนทรัพย์ สาขาเคมีศึกษา MR.DYVEASNA NATH สาขาเคมีอุตสาหกรรม นายเทพชา บารมี สาขาการสอนคณิตศาสตร์ นายเจตพล พิพิธ สาขาคณิตศาสตร์ประยุกต์ นางสาวนิดารัตน์ สมธรรม สาขาคณิตศาสตร์ศึกษา นายณัฐพงษ์ สมบัติตรา สาขาจุลชีววิทยาประยุกต์ นายวรทัศน์ แป้นทอง สาขาฟิสิกส์ นายอัครวัฒน์ เทพมุสิก สาขาฟิสิกส์ศึกษา นายฐปนัท เสมอจิตร์ สาขาวิทยาศาสตร์นาโนและเทคโนโลยีนาโน และนางสาวกนกกาญจน์ ฟองสมุทร์ สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา

คณะวิทยาศาสตร์ขอแสดงความชื่นชมยินดีเป็นอย่างยิ่งต่อผู้ได้รางวัลนี้ ซึ่งเป็นผู้ที่มีความสามารถและมีความวิริยะอุตสาหะต่อการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับรุ่นน้องได้มุ่งมั่นปฏิบัติตามต่อไป

Previous Next

ภาควิชาฟิสิกส์จัดกิจกรรม Learning By Doing ครั้งที่ 2 หัวข้อ Oscillations & Circuits

วันที่ 25-27 มีนาคม 2567 ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ จัดกิจกรรม "โครงการส่งเสริมการเรียนรู้นอกห้องเรียนผ่านการลงมือปฏิบัติวิชาฟิสิกส์พื้นฐาน (Learning by Doing)" ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ Oscillations & Circuits ณ Science Learning Space (N7) เพื่อให้ความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติแก่นักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ที่ลงเรียนในรายวิชา PHY 102 และ PHY104 รวมทั้งนักศึกษาและผู้สนใจทั่วไป ภายใต้การดูแลและให้คำแนะนำอย่างใกล้ชิดจากอาจารย์ผู้สอนและพี่ TA ภาควิชาฟิสิกส์ กิจกรรมนี้มุ่งเน้นการเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติจริง ที่จะช่วยเสริมสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้เต็มไปด้วยความกระตือรือร้นและความสนุกสนาน โดยแบ่งกิจกรรมออกเป็น 10 ฐาน ดังนี้ 1.รถแม่เหล็ก 2.เบรกแม่เหล็กไฟฟ้า 3.เส้นดินสอนำไฟฟ้า 4.พิชิตศาลเจ้าแม่กบ 5.ล่าขุมทรัพย์ ณ ดินแดนแห่งไสยศาสตร์ 6.วงจรไฟฟ้าพื้นฐาน 7.ฐานกิจกรรม OBEM 8.การพัฒนาวิธีการตรวจสอบแนวเชื่อมวัสดุอลูมิเนียมสำหรับชิ้นส่วนยานยนต์น้ำหนักเบาด้วยหลักการทางแม่เหล็กไฟฟ้า 9.การเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบด้วยวิธีกระแสไหลวนสำหรับการประเมินข้อบกพร่องเชิงปริมาณ และ 10.การพัฒนาการตรวจสอบเชิงปริมาณของตำหนิและระบบขับเคลื่อนสำหรับอุปกรณ์ตรวจสอบ Tendon ด้วยวิธีการตรวจสอบแบบสนามแม่เหล็กรั่วไหล ซึ่งกิจกรรมครั้งถัดไปจะจัดขึ้นในวันที่ 13-15 พฤษภาคม 2567

Previous Next

คณะวิทยาศาสตร์ มจธ. จับมือ มหาวิทยาลัยนเรศวร ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการพัฒนานักศึกษาและการวิจัยทางด้านฟิสิกส์

เมื่อวันศุกร์ที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2567 ที่ผ่านมา คณะวิทยาศาสตร์ มจธ. ได้จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการพัฒนาบัณฑิตและการวิจัยทางวิทยาศาสตร์เชิงทฤษฎีและการคำนวณ ระหว่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี กับ มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยมีตัวแทนผู้ลงนามฝ่าย มจธ. นำโดย รศ. ดร.ตุลา จูฑะรสก คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ พร้อมทั้งพยาน และ ตัวแทนผู้ลงนามฝ่ายมหาวิทยาลัยนเรศวร นำโดย ผศ.ณรงค์ฤทธิ์ มณีจิระปราการ ผู้อำนวยการวิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน มน. พร้อมทั้งพยาน

โดยในพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงฯ รศ. ดร.ธนา สุทธิบัทม์พงศ์ ผู้แทนหัวหน้าภาควิชาฟิสิกส์ และ ประธานหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ ได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของความร่วมมือระหว่างทั้งสองสถาบันเกิดจากกลุ่มวิจัยฟิสิกส์เชิงทฤษฎีและการคำนวณ ซึ่งมีบุคคลสำคัญ 2 ท่านจากมจธ. และ มน. คือ ผศ. ดร.วัชระ เลี้ยวเรียน และ  รศ. ดร.สิขรินทร์ อยู่คง ได้ร่วมกันก่อตั้งขึ้นมา โดยทั้ง 2 สถาบันได้มีกิจกรรมร่วมกันในการวิจัยและการบริการวิชาการในสาขาดังกล่าวมาเป็นระยะเวลาหนึ่ง ทั้งนี้ เพื่อยกระดับความร่วมมือให้มีความเข้มแข็งยิ่งขึ้นทั้งในแง่ของงานวิจัย กิจกรรมการเรียนรู้ในทุกรูปแบบ ตลอดจนความร่วมมือในการออกแบบหลักสูตรร่วมกันในอนาคต จึงนำมาสู่การจัดทำบันทึกข้อตกลงนี้

ดังนั้นคณะผู้บริหาร คณาจารย์ คณะวิทยาศาสตร์ มจธ. และ

Previous Next

คณะวิทยาศาสตร์จัดประชุมอาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษาทุนระดับปริญญาตรี

เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2567 คณะวิทยาศาสตร์ได้จัดประชุมอาจารย์ที่ปรึกษา นักศึกษาทุนเพชรพระจอมเกล้า และทุนคณะวิทยาศาสตร์ ระดับปริญญาตรี ณ ห้อง science connect อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ฯ (อาคาร N5) เพื่อให้นักศึกษาทุนและอาจารย์ที่ปรึกษา ได้ทราบข้อมูล แนวทางหรือเงื่อนไขรับทุน และการคงสภาพทุนอย่างต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นครินทร์ พัฒนบุญมี รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและผู้เรียนรู้ กล่าวเปิดการประชุมและพูดคุยกับ
นักศึกษาทุน ในการประชุมครั้งนี้ได้มีการให้ข้อมูลเกี่ยวกับทุนเพชรพระจอมเกล้า ระดับปริญญาตรี โดย กลุ่มงานช่วยเหลือทางการเงินแก่นักศึกษา มจธ. และข้อมูลเกี่ยวกับทุนคณะวิทยาศาสตร์ ระดับปริญญาตรี โดย ฝ่ายพัฒนานักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ รวมทั้งมีการระดมความเห็น (VOC) จากนักศึกษาทุนเกี่ยวกับกระบวนการ เงื่อนไข และสิ่งสนับสนุน ในด้านการบริหารจัดการทุนโดยอาจารย์ที่ปรึกษา ผู้แทนจากกลุ่มงานช่วยเหลือทางการเงิน ให้ข้อเสนอแนะและคำอธิบายด้วย ซึ่งในปีนี้คณะวิทยาศาสตร์มีนักศึกษาได้รับทุนเพชรพระจอเกล้า 18 คน และทุนคณะวิทยาศาสตร์ 19 คน

Previous Next

คณะวิทยาศาสตร์จัดโครงการประกวดนักสื่อสารวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ 1

เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2567 คณะวิทยาศาสตร์ได้จัดการประกวดนักสื่อสารวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ 1 หรือ FSci-SC #1 รอบชิงชนะเลิศ เล่าเรื่องวิทย์ให้เข้าใจง่าย ภายใน 3 นาที ในหัวข้อ “วิทยาศาสตร์น่าคิด ชีวิตน่าค้นหา ร่วมกันมาไขปริศนา เรื่องเล่าวิทยาศาสตร์” ณ ห้อง SCL 216 อาคารปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ โดยมี รศ. ดร.ตุลา จูฑะรสก คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ เป็นประธานกล่าวเปิดและปิดงาน พร้อมทั้งมอบรางวัลให้กับผู้ชนะการประกวด โครงการนี้จัดขึ้นเพื่อคัดเลือกนักสื่อสารวิทยาศาสตร์ที่มีความสามารถสำหรับต่อยอดเข้าสู่กิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาที่นอกเหนือจากทักษะทางวิชาการ เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ ความกล้าแสดงออก การฝึกเวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และเป็นพื้นที่ให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถพิเศษ โดยคัดเลือกนักศึกษาที่สนใจเข้าร่วม Workshop เพื่อฝึกความสามารถและบุคลิกภาพที่เหมาะสมในการเป็นนักสื่อสารวิทยาศาสตร์ การเขียนสคริปต์ การฝึกทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ทั้งภาคภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจการสื่อสารวิทยาศาสตร์ มีทักษะการเล่าเรื่องราวทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้องและน่าสนใจ และเข้าร่วมประกวดในรอบชิงชนะเลิศ ซึ่งผู้ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ วิวรรณธณี แสงแดง ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ได้แก่ ทนงศักดิ์ ตากุล ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่ วีริศ สถิตย์มั่น ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ รางวัลอุปกรณ์ประกอบยอดเยี่ยม ได้แก่ วิวรรณธณี แสงแดง

สมัคร สล็อตออนไลน์ สล็อตxo ผู้ให้บริการ เว็บพนันออนไลน์ที่ดีที่สุด

เกมสล็อต SLOTXO สล็อตออนไลน์ ฝาก-ถอน รวดเร็ว แจ็คพอตแตก ใช้งานผ่านมือถือและเว็บไซต์
ทำไมต้อง สล็อตออนไลน์ กับ สล็อตxo เพราะเราคือผู้ให้บริการ เกมสล็อต ที่ดีที่สุด พร้อมกับโปรโมชั่นอีกมากมาย และระบบที่ทันสมัย มีตัวเกมให้เลือกเล่นอีกมากมาย ซึ่งเป็นทางเลือกสำหรับผู้เล่นหน้าใหม่ที่ตัดสินใจในการลงทุน หลายคนคงคุ้นเคยกับตู้เกมสล็อตมาบ้างแล้ว SLOTXO จะนำท่านไปสู่โลกของ เกมสล็อตอีกมากมาย ทั้งกราฟฟิต เสียง sound effect ที่น่าตื่นตาตื่นใจอีกมากมายใน สล็อตxo

  1. เว็บพนันออนไลน์ อันดับ 1 ของเอเชีย
  2. สล็อตออนไลน์อันดับ1
  1. Online Casino India
  2. Best Aviator Game App In India
  3. Andar Bahar Online Game
  4. Casino App Real Money India
  5. Best Cricket Betting Sites In India
  6. Best Casino Game to Win Real Money
  7. Online Casino Games In India
  1. Slot Online Terpercaya
  2. Judi Slot Online Jackpot Terbesar
  3. Judi Slot Terpercaya
  4. Kumpulan Situs Judi QQ Online Terpercaya
  5. Situs Slot Deposit Pulsa dan Slot Online Terbaik
  6. Slot Hacker
  7. Situs Slot Online Terbaik
  8. Slot Gacor Gampang Menang
  9. Slot Online
  10. Situs Slot Online Terbaik 2022
  11. Slot RTP Pragmatic
  12. Situs Slot Gacor 2022