King Mongkut's University of Technology Thonburi (KMUTT)

 

 

   

1 | 2

Previous Next

นักวิจัย มจธ. สร้างชุดทดสอบพยากรณ์สภาวะโรคมะเร็งจากโปรตีนในร่างกายมนุษย์

นักวิจัย มจธ. สร้างชุดทดสอบพยากรณ์สภาวะโรคมะเร็งจากโปรตีนในร่างกายมนุษย์!!! ???

------------------------------------------------------------------------

สัปดาห์นี้เรายังคงอยู่กับการสัมภาษณ์ออนไลน์ตรงไปยังรัฐ Colorado ประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อพูดคุยกับพี่กมลชนก หรือ นางสาวกมลชนก พูลสวัสดิ์ นักศึกษาปริญญาเอกทุนเพชรพระจอมเกล้าดุษฎีบัณฑิต หนึ่งในเจ้าของผลงานวิจัยสุดเจ๋งภายใต้กลุ่มวิจัย OSEN (Organic Synthesis, Electrochemistry and Natural Product) ซึ่งนำทีมวิจัยโดย ผศ. ดร.วิจิตรา เดือนฉาย อาจารย์ประจำภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ ?‍??‍?

.

พี่กมลชนกเล่าให้ฟังว่า หนึ่งในโรคมะเร็งที่ถูกตรวจพบได้บ่อยในคนไทย คือ มะเร็งตับ ซึ่งในการตรวจวินิจฉัยโรคในปัจจุบันจะทำการตรวจการทำงานของตับจากโปรตีนและเอมไซม์ในร่างกาย เช่น เอนไซม์ ALT, เอนไซม์ ALP, Total bilirubin, Direct bilirubin, Albumin, Globulin และ เอนไซม์ GGT เป็นต้น

.

แต่ไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้กลุ่มนักวิจัยทางการแพทย์ได้มีการค้นพบแนวทางการตรวจวินิจฉัยสภาวะความเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็งตับและมะเร็งปอดได้จากปริมาณอัตราส่วนของโปรตีนอัลบูมิน (Albumin) กับเอมไซม์ ALP (Alkaline Phosphatase) (Albumin-ALP Ratio) ซึ่งเป็นการค้นพบที่ใหม่มากเพราะเป็นตัวชี้วัดที่สามารถบ่งบอกสภาวะความเสี่ยงของโรคมะเร็งได้

.

ซึ่งแตกต่างจากการตรวจในปัจจุบันที่ต้องวิเคราะห์ความผิดปกติของเอมไซม์หลายชนิดดังที่กล่าวไปข้างต้นเพื่อนำผลการตรวจของเอมไซม์เหล่านั้นมาประกอบการวินิจฉัยจึงจะสามารถสรุปสภาวะความเสี่ยงของโรคมะเร็งได้ ??‍??‍?

.

โดยอัตราส่วน Albumin-ALP ที่บ่งชี้สภาวะความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็ง คือ ผู้ป่วยจะมีอัตราส่วนของ Albumin-ALP น้อยกว่า 0.5 เมื่อเทียบกับคนปกติที่จะต้องมีอัตราส่วนมากกว่า 0.5 นั่นเอง แต่อัตราส่วนนี้เป็นตัวเลขเฉลี่ยจากหลายงานวิจัยและยังไม่ได้มีการระบุอัตราส่วนที่ชัดเจนในทางการแพทย์เพราะเป็นการค้นพบที่ใหม่มาก ยังคงต้องรอการศึกษาเพิ่มเติมทางการแพทย์ แต่ก็ดูเป็นแนวโน้มที่ดีต่อวงการแพทย์เราอาจจะได้ใช้ตัวบ่งชี้นี้ในการตรวจวินิจฉัยความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งได้ในอนาคตอันใกล้นี้

------------------------------------------------------------------------

และนี่คือ จุดเริ่มต้นของงานวิจัยที่ใหม่ที่สุดทางด้านเทคโนโลยีการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นกับ “ชุดตรวจวัด Albumin-ALP Ratio ที่สามารถวินิจฉัยสภาวะความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งได้ด้วยตาเปล่า!!!” ????

------------------------------------------------------------------------

สิ่งที่น่าประทับใจกับทีมวิจัยนี้ คือ แนวความคิดที่มองว่า ในเมื่อทางการแพทย์ได้ไขความลับของการเปลี่ยนแปลงสารชีวโมเลกุลในร่างกายมนุษย์ที่จะบ่งบอกสภาวะการเป็นมะเร็งได้ แล้วทำไมเราจะพัฒนาเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์ที่ง่ายและรวดเร็วให้มาตอบโจทย์การใช้งานทางการแพทย์ไม่ได้ละ ???

.

หลายท่านคงทราบกันดีอยู่แล้วว่า การจะตรวจปริมาณสารชีวโมกุลเหล่านนี้จำเป็นต้องใช้เครื่องมือวิเคราะห์ภายในโรงพยาบาลและต้องใช้เครื่องมือร่วมกับเทคนิคทางชีววิทยาในการตรวจวัด

.

แต่ในผลงานวิจัยนี้ ทางทีมวิจัยได้พัฒนาฐานองค์ความรู้ของเทคโนโลยีการสร้างเซนเซอร์ที่ดูการเปลี่ยนแปลงของสีบนแผ่นกระดาษ โดยใช้ลักษณะการตรวจวัดเป็นการวัดมุมของการเปลี่ยนแปลงสีบนกระดาษ 2 ตำแหน่ง แล้วนำค่ามุมที่วัดได้มาเทียบเป็นค่าอัตราส่วนของ Albumin-ALP เพื่อวินิจฉัยโรคต่อไป ??

.

วิธีการตรวจวัดนั้นง่ายมาก เพียงแค่นำตัวอย่างซีรัมของผู้ป่วยมาหยดลงบนกระดาษที่เป็นพื้นที่การตรวจวัด จากนั้นตัวอย่างซีรัมจะทำปฏิกิริยากับสารทดสอบบนแผ่นกระดาษ โดยที่ปริมาณโปรตีน Albumin จะทำปฏิกิริยากับสารทดสอบบนกระดาษด้านซ้ายเกิดการเปลี่ยนแปลงจากสีเหลืองเป็นสีเขียว และปริมาณเอมไซม์ ALP จะทำปฏิกิริยากับสารทดสอบบนกระดาษด้านขวาเกิดการเปลี่ยนแปลงจากสีชมพูเป็นไม่มีสี แล้วทำการวัดมุมที่กระทำกันระหว่างแถบสีของกระดาษทั้งสองด้านที่เปลี่ยนแปลงไป จากนั้นทำการเทียบขนาดของมุมที่ได้กับค่ามาตรฐานเพื่อบ่งบอกปริมาณอัตราส่วนของ Albumin-ALP ทีนี่เราก็จะสามารถรู้ได้ทันทีว่าอัตราส่วน Albumin-ALP ของผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อสภาวะมะเร็งมากน้อยเพียงใด

------------------------------------------------------------------------

โอ้วโหวววว นี่มันพลิกโฉมการตรวจวินิจฉัยสภาวะความเสี่ยงของโรคมะเร็งเบื้องต้นกันเลยทีเดียว ไม่ธรรมดาเลยนะครับกับทีมวิจัย OSEN สำหรับผลงานสัปดาห์หน้าจะเป็นเรื่องอะไรนั้น อย่าลืมมาตามอ่านบทสัมภาษณ์ของอะตอมกันด้วยนะครับ กับงานวิจัยสุดเจ๋งของเหล่าบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ มจธ.!!!! ????

------------------------------------------------------------------------

ผลงานชิ้นนี้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร ACS Sensors ปี 2021 (Q1: Impact factor = 7.711) ในชื่อผลงาน “Distance-Based Paper Device for a Naked-Eye Albumin-to-Alkaline Phosphatase Ratio Assay” ???

#FSciResearchInnovation #KMUTT

------------------------------------------------------------------------

Publication link: https://pubs.acs.org/doi/abs/10.1021/acssensors.1c01058

สมัคร สล็อตออนไลน์ สล็อตxo ผู้ให้บริการ เว็บพนันออนไลน์ที่ดีที่สุด

เกมสล็อต SLOTXO สล็อตออนไลน์ ฝาก-ถอน รวดเร็ว แจ็คพอตแตก ใช้งานผ่านมือถือและเว็บไซต์
ทำไมต้อง สล็อตออนไลน์ กับ สล็อตxo เพราะเราคือผู้ให้บริการ เกมสล็อต ที่ดีที่สุด พร้อมกับโปรโมชั่นอีกมากมาย และระบบที่ทันสมัย มีตัวเกมให้เลือกเล่นอีกมากมาย ซึ่งเป็นทางเลือกสำหรับผู้เล่นหน้าใหม่ที่ตัดสินใจในการลงทุน หลายคนคงคุ้นเคยกับตู้เกมสล็อตมาบ้างแล้ว SLOTXO จะนำท่านไปสู่โลกของ เกมสล็อตอีกมากมาย ทั้งกราฟฟิต เสียง sound effect ที่น่าตื่นตาตื่นใจอีกมากมายใน สล็อตxo

  1. เว็บพนันออนไลน์ อันดับ 1 ของเอเชีย
  2. สล็อตออนไลน์อันดับ1
  1. Online Casino India
  2. Best Aviator Game App In India
  3. Andar Bahar Online Game
  4. Casino App Real Money India
  5. Best Cricket Betting Sites In India
  6. Best Casino Game to Win Real Money
  7. Online Casino Games In India
  1. Slot Online Terpercaya
  2. Judi Slot Online Jackpot Terbesar
  3. Judi Slot Terpercaya
  4. Kumpulan Situs Judi QQ Online Terpercaya
  5. Situs Slot Deposit Pulsa dan Slot Online Terbaik
  6. Slot Hacker
  7. Situs Slot Online Terbaik
  8. Slot Gacor Gampang Menang
  9. Slot Online
  10. Situs Slot Online Terbaik 2022
  11. Slot RTP Pragmatic
  12. Situs Slot Gacor 2022